ยาไทยโบราณล้วนแล้วแต่หามาได้จากป่าแทบทั้งสิ้น เช่น ดอกชุบเห็ด เถาวัลย์เปรียง ฝักราชพฤกษ์ หญ้าใต้ใบ ยอดทับทิมและอื่นๆ อีกมาก พืชเหล่านี้ช่วยรักษาและป้องกันโรคได้ ยังมีพืชบางชนิดที่เชื่อว่ามีสรรพคุณเป็นยา และใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารได้ จึงเรียกพืชเหล่านั้นว่า "อาหารที่มีสรรพคุณเป็นยา" หรือ "สมุนไพร"
ตารางแสดงส่วนที่ใช้และสรรพคุณของสมุนไพร
ลำดับ
ชื่อสมุนไพรและส่วนที่ใช้
สรรพคุณ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
กระเทียม (หัวสด)
กระเทียม (หัว)
ขี้เหล็ก (ใบอ่อน แก่น)
มะละกอ (ผลสุก)
แมงลัก (เมล็ด)
ตำลึง (ใบ ยอดอ่อน)
สับปะรด (น้ำ เนื้อ)
ใบบัวบก (ต้นสด)
มะขามแขก (ใบ ฝัก)
มะนาว (น้ำ เมล็ดคั่วบด)
ถั่วเขียว (เมล็ด)
กระเจี๊ยบแดง (กลีบของผล)
ตะไคร้ (รากสด)
เตยหอม (ต้น ราก)
มะระ (เนื้อของผล)
สะเดา (ช่อดอก ยอดอ่อน เปลือก)
ขิง (เหง้าสดหรือผลแห้ง)
กระชาย (เหง้า รากแห้ง)
ฝรั่ง มะขามป้อม (ผลโตเต็มที่)
หัวปลี (ช่อดอกของกล้วย)
กุยช่าย (ใบและต้นสด)
หอมใหญ่ (หัว)
ขึ้นฉ่าย (ต้นสด)
คูน (เมล็ดในของฝัก)
บวบเหลี่ยม ถ่ายพยาธิตัวตืด
ขับพยาธิเส้นด้ายในเด็ก
ถ่ายพยาธิ แก้ปวดศีรษะข้างเดียว แก้ไอขับเสมหะ
ยาระบาย ยาถ่าย ยากล่อมประสาท
ยาระบาย ยาถ่าย แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน
ยาระบาย ยาถ่าย
ช่วยย่อยอาหาร แก้โรคเบาหวาน
ช่วยย่อยอาหารพวกโปรตีน ขับปัสสาวะ
แก้ช้ำใน แก้ปวดศีรษะข้างเดียว แก้เจ็บคอ ลดความดัน
ผู้สูงอายุใช้แก้ท้องผูก
ขับเสมหะ กันหรือแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน
แก้เจ็บคอ
ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด
ขับปัสสาวะ
ขับปัสสาวะ บำรุงหัวใจ แก้โรคเบาหวาน
เจริญอาหาร แก้โรคเบาหวาน
เจริญอาหาร
เจริญอาหาร แก้อาเจียน
บำรุงหัวใจ แก้ริดสีดวงทวาร
กันหรือแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน
เพิ่มน้ำนมในสตรีหลังคลอด
เพิ่มน้ำนมในสตรีหลังคลอด
ลดไขมันในเส้นเลือด
ลดความดัน
ทำให้อาเจียน ยาระบาย ยาถ่าย
ทำให้อาเจียน แก้โรคหืด จากคู่มือการใช้สมุนไพร ชุดแนะแนวสุขภาพของประชาชน ของรองศาสตราจารย์ พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ
สำนักพิมพ์เมดิคัลมีเดีย พิมพ์เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๖