ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน หมายถึง, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน คือ, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน ความหมาย, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน

          การตั้งถิ่นฐาน สามารถจำแนกได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ การตั้งถิ่นฐานในเมือง และการตั้งถิ่นฐานในชนบท          ในพื้นที่นอกเหนือจากเขตเทศบาลและสุขาภิบาลดังกล่าวทั้งหมดข้างต้น  เมื่อมีการตั้งถิ่นฐานเกิดขึ้นก็จะเรียกว่าการตั้งถิ่นฐานในชนบท  ซึ่งสามารถจำแนกรูปแบบสำคัญได้เป็น ๒ รูปแบบ คือ
          ก. การตั้งถิ่นฐานแบบรวมกลุ่ม การตั้งถิ่นฐานแบบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะได้อยู่ในสังคมที่ใกล้ชิดกัน  ซึ่งอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะของการเกษตร แหล่งน้ำ หรือเพื่อป้องกันอันตรายเป็นต้น
          ข.การตั้งถิ่นฐานแบบกระจาย จะมีลักษณะเป็นบ้านเดี่ยวหรือกลุ่มบ้านสองสามหลังตั้งกระจายห่างไกลจากเพื่อนบ้าน  มักพบในบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เกษตรกรเป็นเจ้าของที่ดินผืนใหญ่ แต่ในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดปัญหาที่สำคัญบางประการ  ตัวอย่าง เช่นการจัดบริการสาธารณะ เช่น ถนน ไฟฟ้าเป็นต้น ซึ่งต้องลงทุนสูงกว่าในเขตที่อยู่อาศัยแบบรวมกลุ่ม

ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน หมายถึง, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน คือ, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน ความหมาย, ลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

บทความอื่น ของสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 17

สารานุกรมเล่มอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu