หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ
หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ หมายถึง, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ คือ, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ ความหมาย, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ คืออะไร
หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ ๔ ประการ
ประการที่หนึ่ง ช่วยชีวิตเมื่อผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ โดยการนวดหัวใจและผายปอด
ประการที่สอง เพิ่มความกดดันซ้ำ ถ้ามีลักษณะใดๆ ที่แสดงว่าผู้บาดเจ็บต้องการการเพิ่มความกดดัน ให้รีบดำเนินการทันที โดยอาศัยห้องปรับบรรยากาศ หรือเครื่องระบบความดัน (HYPERBARIC CHAMBER) ที่มีติดตั้งไว้ในเรือช่วยชีวิต การเพิ่มความกดดันซ้ำนั้นกระทำเพื่อให้ฟองอากาศที่เกิดขึ้นในร่างกายของผู้บาดเจ็บ ละลายกลับเข้าไปในเนื้อเยื่อและเลือดอีกครั้ง อาการผิดปกติต่างๆ อันเกิดจากฟองอากาศจะหายไป หลังจากนั้นจึงค่อยๆ ลดความกดดันลงช้าๆ โดยการปล่อยให้อากาศที่ละลายอยู่ถูกกำจัดออกจากร่างกายทีละน้อยทางลมหายใจ เพื่อป้องกันการเกิดฟองอากาศขึ้นมาอีก
ประการที่สาม ให้การปฐมพยาบาล เมื่อมีการบาดเจ็บลักษณะอื่นเกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น ชัก กัดลิ้น มีแผลฉีกขาด เลือดออก
ประการที่สี่ นำส่งแพทย์ทันที เพื่อให้ได้รับการรักษาที่ต้องการวิธีการเฉพาะ และการดูแลที่ใกล้ชิดมากขึ้น
หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ หมายถึง, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ คือ, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ ความหมาย, หลักการให้ความช่วยเหลือกรณีมีอันตรายจากการดำน้ำ คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!