การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน
การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน หมายถึง, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน คือ, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน ความหมาย, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน คืออะไร
ตัวอย่างที่ 3
เพราะฉะนั้นเขียนระบบสมการ (1) ในระบบเมตริกได้
AX = B _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ (2)
เงื่อนไขในการที่สมการนี้จะมีคำตอบ หรือหาค่า X ได้ คือ A ต้องมีเมตริกผกผันหรือดีเทอร์มิแนนต์ของ A ไม่เป็นศูนย์ ให้ C เป็นเมตริกผกผันของ A และ C = (ci j)3x3
จาก (2) ได้ CAX = CB
หรือ IX = CB (เพราะว่า CA = I = AC)
X = CB
หมายเหตุ ถ้ามีตัวแปร n ตัว และมี n สมการ สามารถเขียนคำตอบได้ดังนี้
(ดูวิธีหาเมตริกผกผัน) เพราะฉะนั้น CAX = CB
ดังนั้น x1 = -3, x2 = 2
ดังนั้น X1 = -15, X2 = 35, X3 = -35
สำหรับระบบสมการที่มีจำนวนตัวแปร และจำนวนสมการไม่เท่ากัน เช่น มี m สมการ และตัวไม่ทราบค่า n ตัวจะมีเมตริกสัมประสิทธิ์เป็นเมตริก m x n ซึ่งไม่ใช่เมตริกจัตุรัสและไม่มีเมตริกผกผัน เราจะแก้ระบบสมการเหล่านี้ โดยอาศัยวิธีการแปลงเบื้องต้น ซึ่งผู้สนใจจะศึกษาได้ในตำราเกี่ยวกับเมตริกดังกล่าวมาแล้ว ในที่นี้จะกล่าวถึงความรู้พื้นฐานเพียงเท่านี้
การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน หมายถึง, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน คือ, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน ความหมาย, การแก้ระบบสมการ โดยใช้วิธีเมตริกผกผัน คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!