กระบสนการสร้างโปรตีน?, กระบสนการสร้างโปรตีน? หมายถึง, กระบสนการสร้างโปรตีน? คือ, กระบสนการสร้างโปรตีน? ความหมาย, กระบสนการสร้างโปรตีน? คืออะไร
กระบสนการสร้างโปรตีน?
-- if gte mso 9 Normal 0 false false false MicrosoftInternetExplorer4 endif -- -- if gte mso 9 endif -- -- Font Definitions font-face font-family Angsana New panose-1 2 2 6 3 5 4 5 2 3 4 mso-font-charset 0 mso-generic-font-family roman mso-font-pitch variable mso-font-signature 16777219 0 0 0 65537 0 Style Definitions p MsoNormal li MsoNormal div MsoNormal mso-style-parent margin 0cm margin-bottom 0001pt mso-pagination widow-orphan font-size 12 0pt mso-bidi-font-size 14 0pt font-family Times New Roman mso-fareast-font-family Times New Roman mso-bidi-font-family Angsana New page Section1 size 612 0pt 792 0pt margin 72 0pt 90 0pt 72 0pt 90 0pt mso-header-margin 36 0pt mso-footer-margin 36 0pt mso-paper-source 0 div Section1 page Section1 -- -- if gte mso 10 Style Definitions table MsoNormalTable mso-style-name ตารางปกติ mso-tstyle-rowband-size 0 mso-tstyle-colband-size 0 mso-style-noshow yes mso-style-parent mso-padding-alt 0cm 5 4pt 0cm 5 4pt mso-para-margin 0cm mso-para-margin-bottom 0001pt mso-pagination widow-orphan font-size 10 0pt font-family Times New Roman mso-ansi-language 0400 mso-fareast-language 0400 mso-bidi-language 0400 endif -- ในกระบวนการสร้างโปรตีน การจำลองรหัส และการแปลรหัสจะเกิดขึ้นที่ใด จะเกิดขึ้นอย่างไร
การถ่ายแบบ replication การถ่ายแบบเป็นการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ เริ่มจาก ไฮโดรเจนบอนด์แตกหลุดออกจากกัน พอลินิวคลีโอไทด์ สองสายที่พันกันเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียน หรือที่เรียกว่าดับเบิล เฮลิกซ์ คลายตัวออกจากกัน ทำให้ไนโตรเจนเบสบนแต่ละสายเป็นอิสระที่จะเลือกจับนิวคลีโอไทด์โมเลกุลใหญ่ ตามความจำเพาะของเบสที่คู่กัน คือ A T และ C G เสมอ ต่อมานิวคลีโอไทด์ที่มาเกาะกับสายเดิมจะต่อกันด้วยบอนด์ฟอสโฟไดเอสเตอร์ ระหว่างน้ำตาลดีออกซีไรโบสกับฟอสเฟต เกิดเป็นพอลินิวคลีโอไทด์สายใหม่ที่จับกับสายพอลินิวคลีโอไทด์สายเดิม ผลจากกระบวนการนี้จะได้โมเลกุลของดีเอ็นเอใหม่ที่มีส่วนประกอบเหมือนเดิมทุก ประการ การแปลรหัส translation การสังเคราะห์โปรตีนโดยการแปลรหัส จาก mRNA ที่จับกับไรโบโซมในไซโทพลาซึมโดย tRNA จะนำกรดอะมิโนซึ่งตรงรหัสตติยะ triplet code ซึ่งเป็นสูตรรหัสในดีเอ็นเอที่ประกอบด้วยเบส 3 ตัวใน mRNA มายังไรโบโซมต่อกันเข้าเป็น พอลิเพปไทด์ เมื่อ tRNA ได้รับกรดอะมิโนก็จะเคลื่อนมาจับกับ mRNA ส่วนของ tRNA ที่จะเกาะจับกับ mRNA ประกอบด้วยรหัสซึ่งเป็นเบส 3 ตัวนี้ เรียกว่า แอนติโคดอน anticodon ชุดของเบสบน tRNA ที่รับเข้ากันได้กับชุดของเบสบน mRNA ที่เป็นโคดอนในการนำกรดอะมิโนเข้าไปต่อกับสายพอลิเพปไทด์ ในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน เบสของแอนติโคดอน ได้แก่ อะดีนีน ยูเรซิล ไซโทซีน และกัวนีน เบสบน mRNA ที่แอนติโคดอน มาจับก็ประกอบด้วยเบส 3 ตัวเท่ากัน เบส 3 ตัวนี้เรียกว่า โคดอน ชุดของเบสหรือรหัสพันธุกรรมบน mRNA ที่จะถูกแปลรหัสไปเป็นลำดับของกรดอะมิโน โดยการเข้าคู่กับแอนติโคดอนของ tRNA ซึ่งเป็นตัวแปลรหัสในกระบวนการสร้างโปรตีน ซึ่งก็คือรหัสตติยะของ mRNA นั่นเอง ดังนั้น tRNA ใดจับ mRNA ที่ตำแหน่งใดย่อมขึ้นอยู่กับลักษณะของแอนติโคดอน และโคดอนนั่นเอง ข้อมูลเพิ่มเติม
กระบสนการสร้างโปรตีน, กระบสนการสร้างโปรตีน หมายถึง, กระบสนการสร้างโปรตีน คือ, กระบสนการสร้างโปรตีน ความหมาย, กระบสนการสร้างโปรตีน คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!