ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร?, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร? หมายถึง, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร? คือ, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร? ความหมาย, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร? คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
คำถาม

เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร?

เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึก อยากทราบว่าต้องรักษาอย่างไร เพราะปวดหลังและทรมานมาก

คำตอบ

การรักษาโรคหมอนรองกระดูกเสื่อม   ถ้าไม่อยากผ่าตัดก็แนะนำให้ทำกายภาพบำบัดครับ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค แต่ละคนจะใช้เวลารักษาแตกต่างกัน     โรคที่ว่านี่เป็นโรคที่รักษาไม่หายขาดนะครับสามารถกลับมาเป็นซ้ำๆ ซากๆ ได้ถ้ายังไปทำสิ่งที่ทำให้เกิดอาการ ถ้าไม่ผ่าตัดเปลี่ยน เชื่อมข้อต่อ เพราะมันเป็นภาวะความสึกเสื่อมของข้อต่อกระดูกที่เป็นไปตามวัย ใช้เวลาสะสมมาหลายปีถึงแสดงอาการ แต่ทำให้ดีขึ้นได้ถ้าดูแลรักษาตัวเองอย่างถูกวิธี จะให้รายละเอียดคร่าวๆดังนี้   เครื่องมือทางกายภาพบำบัด 1 Lumbar traction เครื่องดึงกระดูกสันหลังให้แยกห่างออกจากันครับ ทำให้การกดทับของกระดูกสันหลังค่อยๆ ลดลง อาการปวดและชาร้าวลงขาจะค่อยๆ ดีขึ้นครับ   2 Ultrasound หรือ บางที่ใช้ Shortwave diarthermy ทำให้เกิดความร้อนลึกลงไปถึงเนื่อเยื่อภายใน ถึงข้อต่อกระดูกสันหลังเละเส้นประสาท กระตุ้นการซ่อมแซมและลดการอักเสบของเส้นประสาทลงได้ครับ   3 Interferential current กระแสไฟฟ้าไอเอฟซี ที่ผ่านการแปลงรูปคลื่น และความแรง ติดตามบริเวณที่ปวด ช่วยลดอาการปวดร้าวลงที่ขาได้ครับ ความรู้สึกที่ได้รับตอนรักษาจะมึนๆ ยุบยิบๆ พอเสร็จจะรู้สึกเบาขึ้น   4 Trunk stabilizer exercise ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อน้าท้องและหลังมัดลึก คือ transversus abdominis และ multifidus mucle ซึ่งมีส่วนสำคัญในการให้ความแข็งแรงมั่นคงของข้อต่อกระดุกสันหลัง ฝึกดดย -นอนหงาย เอาหมอนรองใต้เข่า จากนั้นแขม่วท้องให้มากที่สุด จากนั้นหายใจเข้าออกโดยที่ท้องยังแขม่ว หรือกระเพื้อมให้น้อยที่สุด หายใจ 3 - 5 ครั้ง แล้วจากนั้นก็ผ่อนท้องหายใจปกติ ทำซ้ำ 10 - 15 ครั้ง   5 ท่าบริหารเพื่อเปิดช่องไขสันหลัง นอนหงาย ชันเข่า จากนั้นงอสะโพกทั้งสองข้างเข้ามาแล้วเอามือกอดเข้ามาชิดลำตัวให้มากที่สุด ไม่ต้องยกหัวขึ้น ยืดค้างไว้ 15 วินาที ทำซ้ำ 10 ครั้ง ถ้าทำแล้วปวดมากขึ้นไม่ต้องทำต่อ     คำแนะนำ - ลดน้ำหนักลง เพราะน้ำหนักตัวมีผลต่อแรงกดที่กระดุกสันหลังเมื่อเรานั่งหรือยืน ถ้าน้ำหนังมากแรงกดก้มาก ช่องที่ให้เส้นประสาทออกมาก็ยิ่งแคบลงไปใหญ่ Intervertebral foramen   - หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ก้มๆ เงยๆ หรือยกของหนักๆ หรือแม้แต่การนั่งรถนานๆ เพราะคนไข้ที่มารักษาเมื่อรู้สึกเบาขึ้นก็จะเผลอไปทำนู่นทำนี่ แล้วมันก็กลับมาปวดมากกว่าเดิม แล้จะมาย้อนถามนักกายภาพว่าทำไม คงต้องถามตัวเองมากกว่านะ   - ถ้าจำเป็นอาจต้องใส่เสื้อพยุงหลัง Lumbar support แต่ไม่แนะนำให้ใส่ตลอดเวลา ใส่เท่าที่จำเป็น เช่นตอนนั่งรถ เดิน หรือทำกิจกรรมต่างๆ เพราะเสื้อพยุงจะมาทำหน้าที่แทนกล้ามเนื้อท้องและหลังช่วยรับนำ้หนัก และเพิ่มแรงดันในช่องท้องแทนกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเมื่อไม่ได้ทำงานนานๆ ก็จะอ่อนแรงลงเรื่อยๆ ความมั่นคงก้จะลดลง   แต่คนไข้ส่วนใหย่มักจะติดการใส่เสื้อและละเลยการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหน้าท้องและหลังมัดเล็ก       ความรู้เพิ่มเติม   มะละกอ เป็นผลไม้อีกชนิดที่หากินง่าย และมีประโยชน์สูง เพราะมะละกออุดมไปด้วยวิตามิน C และเบตาแคโรทีน ซึ่งมีประโยชน์ในการบำรุงผิวพรรณ และสร้างความสดชื่นให้แก่คุณเสมอ                         นอกจากนี้แล้วยังนำมะละกอมาดองได้อีกด้วย ซึ่งมะละกอดองนั้นป้องกันอาการท้องอืดท้องเฟ้อ และถ่ายพยาธิได้ดี ทางการแพทย์มีการวิจัยว่ามะละกอมีสารพาเพอิน ที่ช่วยรักษาโรคหมอนรองกระดูกสึกได้ ซึ่งก็นับว่าเป็นข่าวดีของวงการแพทย์ และผู้สูงอายุเพราะเป็นผู้ที่ประสบปัญหานี้มากกว่าวัยอื่น      

เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร หมายถึง, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร คือ, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร ความหมาย, เป็นโรคหมอนรองกระดูกสึกต้องรักษาอย่างไร คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำถามแนะนำ

คำถามในหมวดอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu