ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

วิกรรตกริยา?, วิกรรตกริยา? หมายถึง, วิกรรตกริยา? คือ, วิกรรตกริยา? ความหมาย, วิกรรตกริยา? คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 6
คำถาม

วิกรรตกริยา?

ทำไมจึงไม่มีกริยาคำนี้ nbsp nbsp ทั้งๆที่มันก็เป็นกริยาคำนึง nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp วิกรรตกริยา

คำตอบ

                  คำกริยา   คือ คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนามเพื่อให้รู้ว่า นามหรือสรรพนามนั้นทำหน้าที่อะไร หรือเป็นการแสดงการกระทำของประธานในประโยค ชนิดของคำกริยา                   คำกริยาแบ่งได้ 5 ชนิด คือ                   1 อกรรมกริยา คือกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้ใจความสมบูรณ์ เช่น   ฉันยืนแต่แม่นั่ง   พื้นบ้านสกปรกมาก                     2 สกรรมกริยา คือ กริยาที่มีกรรมมารับจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ เช่น   ฉันกินข้าว   แม่หิ้วถังน้ำ                   3 วิกตรรถกริยา เป็นกริยาที่ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ต้องอาศัยคำนาม สรรพนาม หรือคำวิเศษณ์มาเติมข้างหลังหรือมาขยายจึงจะได้ใจความ ได้แก่กริยาคำว่า ว่า เหมือน คล้าย เท่า คือ เสมือน ประดุจ แปลว่า เช่น                   - นายสีเป็นพ่อค้าข้าว                     - เธอคล้ายฉัน                   - ทำได้เช่นนี้เป็นดีแน่                   4 กริยานุเคราะห์ คือกริยาช่วย เป็นคำที่ช่วยให้กริยาอื่นที่อยู่ข้างหลังได้ความครบ เพื่อบอกกาลหรือบอกการกระทำให้สมบูรณ์ ได้แก่ กำลัง คง จะได้ ย่อม เตย ให้ แล้ว เสร็จ กริยานุเคราะห์จะวางอยู่หน้าคำกริยาสำคัญหรือหลังคำกริยาสำคัญก็ได้ เช่น เขาย่อมไปที่นั่น   เขาถูกครูดุ   น้องทำการบ้านแล้ว                   5 กริยาสภาวมาลา คือ กริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม จะเป็น ประธาน กรรม หรือ บทขยายของประโยคก็ได้ เช่น                                                           นอนหลับเป็นการพักผ่อนที่ดี                 ประธานของประโยค                                                             ฉันชอบไปเที่ยวกับเธอ                                 เป็นบทกรรม                                                             ฉันมาเพื่อดูเขา                                                     เป็นบทขยาย ข้อมูลเพิ่มเติม

วิกรรตกริยา, วิกรรตกริยา หมายถึง, วิกรรตกริยา คือ, วิกรรตกริยา ความหมาย, วิกรรตกริยา คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำถามแนะนำ

คำถามในหมวดอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu