รู้มั๊ยๆว่าสุขภาพดีทำให้ ทุกคนมีชีวิตยืนยาวได้อย่างไร?
nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp สุขภาพดี ชีวิตยืนยาว วัยเพิ่มขึ้นไม่หยุดและไม่มีใครสามารถหยุดยั้งได้ คำว่า ldquo แก่ชรา rdquo เป็นคำที่ไม่น่าพึงปรารถนา แต่ก็ไม่มีใครสักคนสามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถชะลอได้การดำเนินชีวิต ประจำวันและการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายและผิวพรรณของแต่ละบุคคลมีผลอย่างยิ่งที่จะทำ ให้ความชรามาเยือนช้าหรือเร็วต่างกัน บางคนอายุมาก แต่ดูดีสุขภาพดี บางคนดูแก่กว่าวัย อย่างไม่น่าเชื่อ สาเหตุสำคัญคือสภาวะความเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย และผิวพรรณภายนอก Aging Process ตามธรรมชาติและจากวิถีการดำเนินชีวิต Lifestyle ของแต่ละคน โดยเฉพาะด้านอาหาร และการออกกำลังกาย nbsp ความจริงอันน่าตกใจของคนไทย ในปี 2543 มีผู้เสียชีวิตทั่วประเทศ 365 741 คน ในจำนวนนี้ ร้อยละ 21 เสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง อันดับ 1 ได้แก่ โรคมะเร็ง 39 480 คน อันดับ 2 ได้แก่ โรคหัวใจ 19 708 คน อันดับ 3 ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง 11 163 คน อันดับ 4 ได้แก่ โรคเบาหวาน 6 736 คน nbsp โดยการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรังนี้ เป็นทิศทางเดียวกับประเทศที่เจริญแล้ว ซึ่งขณะนี้ มีคนไทยป่วยจาก 4 โรคดังกล่าวมากถึง 6 8 ล้านคน สาเหตุโรคเรื้อรัง หลักๆเกิดจากการขาดการออกกำลังกาย สาเหตุที่ 2 คือ การรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมาะสม โดยเฉพาะการกิน ตามใจตนเองและอาหารเครื่องดื่มที่ทำลายสุขภาพ ข้อมูลจาก นสพ คมชัดลึกลึก 12 พฤศจิกายน 2545 nbsp คนไทยตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน ประชาชนไทย ยังเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะโรคที่ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคและพิษภัยในอาหารและสิ่งแวดล้อม อาทิ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง เป็นต้น วงการแพทย์ไทย ระบุว่า ในทุกๆ 1 ชั่วโมง มีคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดประมาณ 7 คน ข้อมูลจาก นสพ คมชัดลึก ลึก 3 มิถุนายน 2545 nbsp สาเหตุของปัญหาสุขภาพ 70 ของโรคภัยไข้เจ็บโดยทั่วไปไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค แต่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ผิด หลักโภชนาการ และการขาดการออกกำลังกาย ทำให้เกิดโรคอ้วน และก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ และผิวพรรณ และโรคภัยไข้เจ็บตามมาอีกมากมายในระยะยาว nbsp nbsp ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการออกกำลังกาย อายุมากขึ้น อายุมากขึ้น ฐานะการเงินดีขึ้น เวลาน้อยลง ทำงานหนัก รับประทานอาหารมากขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ระบบเผาผลาญอาหารเสื่อมลง ร่างกายเผาผลาญพลังงาน น้อยลง ร่างกายใช้พลังงานน้อยลง ร่างกายใช้พลังงานน้อยลง น้ำหนักเพิ่มขึ้น น้ำหนักเพิ่มขึ้น สุขภาพทรุดโทรมลง มีปัญหาสุขภาพ มีปัญหาสุขภาพ nbsp nbsp nbsp การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักเมื่ออายุเพิ่มขึ้น น้ำหนัก 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 อายุ nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 nbsp เมื่ออายุ 20 ปี จะมีน้ำหนักตัวโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 50 ndash 60 กก หญิง-ชาย เมื่ออายุเพิ่มขึ้นเป็น 40 ปี จะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นเป็น 65 ndash 75 กก หญิง-ชาย nbsp แนวโน้มเมื่ออายุ 50 -60 ปี จะมีน้ำหนักเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 80 -90 กก อย่างรวดเร็วด้วย สภาพร่างกายที่เปลี่ยนไป วัยทอง ฮอร์โมนในร่างกาย ผู้หญิง ไขมันสะสมตามต้นแขนต้นขาหน้าท้อง ผู้ชาย อ้วน ลงพุง อาหารที่รับประทานมากเกินไป nbsp ได้แก่ แป้ง คาร์โบไฮเดรท ไขมัน โปรตีนจากเนื้อสัตว ์ เกลือ แอลกอฮอล์ สารเคมีปนเปื้อน อาหารที่รับประทานน้อยเกินไป ได้แก่ วิตามิน เกลือแร่ กรดอะมิโน ที่จำเป็นต่อร่างกาย ใยอาหาร พืชผัก ผลไม้ ปัญหาซ่อนเร้น เป็นอันตรายมากกว่าความจริงที่ปรากฏให้เห็น nbsp โรคมะเร็ง ในปัจจุบันมีทฤษฎีอันเป็นที่ยอมรับกันว่า มะเร็งเกิดจากความผิดปกติของเซลล์เนื่องจาก ได้รับการกระตุ้นโดยสารก่อมะเร็ง Carcinogen เช่น อนุมูลอิสระ มลพิษต่างๆ สารเคมี หรือ การติดเชื้อ โดยเมื่อได้รับการกระตุ้นบ่อยครั้งซ้ำๆ กัน มีผลทำให้เกิดการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเซลล์ที่ ผิดขึ้นเรื่อยๆ โดยที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมได้ เซลล์นี้จะมีการมากขึ้น จนกลายเป็นก้อนมะเร็ง nbsp ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค 1 อาหารที่มีไขมันสูง มีสารเคมีตกค้าง อาหารมักดอง อาหารไหม้เกรียม ปิ้งย่าง nbsp 2 มลพิษทางอากาศ nbsp 3 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ nbsp 4 การใช้ยาบางชนิด นานติดต่อกัน nbsp nbsp โรคหัวใจขาดเลือด เป็นภาวะเนื่องจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ เกิดการตีบตันและยืดหยุ่นได้ไม่เต็มที่ nbsp เพราะมีไขมันไปเกาะ ทำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่สะดวกและเกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ nbsp และอาจเกิดอาการหัวใจวายถึงขั้นเสียชีวิตได้ nbsp nbsp ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค 1 ภาวะโคเลสเตอรอลสูงไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง nbsp 2 โรคอ้วน น้ำหนักมากเกิน nbsp 3 โรคความดันโลหิตสูง nbsp 4 โรคเบาหวาน nbsp 5 การสูบบุหรี่ การขาดการออกกำลังกาย ความเครียด nbsp nbsp โรคเส้นเลือดในสมองตีบ หรืออุดตัน เป็นโรคที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 3 รองจากโรคมะเร็งและโรคหัวใจ ทำให้เกิดกลุ่มอาการต่างๆ nbsp ได้หลายอย่าง เช่น ทำให้มีอัมพฤกษ์ หรืออัมพาตของแขน ขา หน้าหรือลิ้น ทำให้เส้นเลือด nbsp ในสมองแตก หรือทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว เซลล์และเนื้อตัวสมองขาดเลือดหรือ nbsp ขาดออกซิเจน เป็นอันตราย nbsp nbsp ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค 1 ไขมันในเลือดสูง ยาคุมกำเนิด พันธุกรรม nbsp 2 รับประทานอาหาร ที่มีไขมันสูง nbsp 3 น้ำหนักตัวมากเกินไป ไม่ออกกำลังกาย nbsp 4 การสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง เบาหวานที่ควบคุมไม่ดี nbsp 5 ผู้ป่วยที่มีหัวใจเต้นผิดปกติ nbsp โรคเบาหวาน คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติเกิดขึ้นเมื่อตับอ่อนไม่สามารถผลิต nbsp อินซูลินได้เพียงพอหรือสร้างไม่ได้เลย ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลมาใช้ได้อย่างเหมาะสม nbsp น้ำตาลจะค้างในเลือดมากจึงล้นออกมาในปัสสาวะ เกิดอาการที่เรียกว่า ldquo เบาหวาน rdquo nbsp nbsp ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค 1 กรรมพันธุ์ nbsp 2 ความอ้วน ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้น้อยลง nbsp 3 การตั้งครรภ์บ่อย เกิดฮอร์โมนยับยั้งการทำงานของอินซูลิน nbsp 4 การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาเสตียรอยด์ nbsp 5 โรคตับ ทำให้ตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อย หรือสร้างไม่ได้ nbsp nbsp หลักการที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพระยะยาว สุขภาพที่ดี เกี่ยวข้องโดยตรงกับรูปร่างและน้ำหนักที่สมสัดส่วน ซึ่งเกิดจากรูปแบบการ nbsp รับประทานอาหารของแต่ละคนเป็นสำคัญ ดังคำกล่าวที่ว่า You are what you eat 1 ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงอายุใด หากน้ำหนักปัจจุบันเกินไปจากมาตรฐาน จำเป็นต้องลดน้ำหนักลง nbsp อยู่ในระดับมาตรฐาน โดยใช้ระยะเวลาการลดน้ำหนักลงในระดับที่ปลอดภัย ประมาณกก ต่อเดือน nbsp ท่านที่มีน้ำหนักเกินประมาณ 20 กก ควรใช้เวลาประมาณ 6 เดือนในการลดน้ำหนักลง nbsp 2 รักษามาตรฐานของน้ำหนักระยะยาว โดยการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทาง nbsp โภชนาการสูงและครบถ้วนอย่างต่อเนื่องต่อไปเป็นระยะเวลาเท่ากับเวลาที่ใช้ในการลดน้ำหนักลง nbsp เพื่อให้ร่างกายรับรู้ และตระหนักกับรูปร่าง น้ำหนักและระดับการเผาผลาญพลังงาน nbsp Metabolism ใหม่ พร้อมๆไปกับกับการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมสม่ำเสมอ nbsp nbsp Cellular Nutrition ช่วยท่านได้ ที่มา www show-yourshape com