ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร?, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร? หมายถึง, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร? คือ, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร? ความหมาย, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร? คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 2
คำถาม

ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร?

nbsp ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร

คำตอบ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ปอเทือง (Crotalaria juncea) เป็นพืชฤดูเดียว ลำต้นตั้งตรงแตกกิ่งก้านสาขามากสูงประมาณ 180 - 300 เซนติเมตร ใบเป็นใบเดียวยาวรี ช่อดอกเป็นแบบราซีม (racemes) ซึ่งอยู่ปลายกิ่งก้านสาขา ประกอบด้วยดอกย่อย 8 -20 ดอก ดอกสีเหลืองมีการผสมข้ามฝักเป็นทรงกระบอกยาว 3 - 6 เซนติเมตร กว้าง 1 - 2 เซนติเมตร หนึ่งฝักมีประมาณ 6 เมล็ด เมื่อเขย่าฝักแก่จะมีเสียงดังเนื่องจากเมล็ดกระทบกันเมล็ดมีรูปร่างคล้ายหัวใจสีน้ำตาลหรือดำ เมล็ดหนึ่งกิโลกรัมจะมีเมล็ดจำนวน 40,000 - 50,000 เมล็ด หรือหนึ่งลิตรจะมีประมาณ 34,481 เมล็ด วิธีปลูก 1) ปลูกแบบหว่านเป็นวิธีที่สะดวก ประหยัดเวลาและแรงงาน โดยการนำเอาเมล็ดพันธุ์ที่เตรียมไว้หว่านลงไปในแปลงให้ทั่วในอัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร 2) ปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ระยะระหว่างแถว 75 เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ใช้อัตราเมล็ด 3 - 4 กิโลกรัม/ไร่ 3) ปลูกแบบหยอดหลุม วิธีนี้ล่าช้าและไม่สะดวกในทางปฏิบัติอีกทั้งสื้นเปลืองแรงงาน ไม่เป็นที่นิยมใช้ในกรณีที่มีเมล็ดพันธุ์จำกัดมาก ใช้ระยะปลูก 50*100 เซนติเมตรหยดเมล็ด 2 - 3 เมล็ด/หลุม ใช้อัตราเมล็ด 1 - 3 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากปอเทืองออกดอกช่วงอายุประมาณ 50 - 60 วัน ก็ไถกลบ การไถกลบควรจะไถ ขณะที่มีความชื้นอยู่ในดินพอสมควร การใช้ประโยชน์ ปลูกเพื่อใช้เป็นปุ๋ยพืชสด นิยมปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดในสภาพื้นที่ดอน โดยปลูกในรูปแบบของพืชหมุนเวียน โดยหว่านหรือโรยเมล็ด ก่อนการปลูกพืชหลัก เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลัง อ้อย เป็นต้น อย่างน้อย 2.0 - 2.5 เดือน แล้วไถกลบปอเทืองที่อายุประมาณ 50 - 60 วัน ในขณะที่ดินยังมีความชื้นแล้วทิ้งไว้ 7 - 10 วัน ก่อนปลูกพืชหลัก หรืออาจปลูกในรูปแบบของพืชแซม โดยปลูกระหว่างแถวพืชหลัก ปลูกหลังจากพืชหลักประมาณ 1 - 2 สัปดาห์

ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร หมายถึง, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร คือ, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร ความหมาย, ปอเทือง มีลักษณะอย่างไร คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำถามแนะนำ

คำถามในหมวดอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu