อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์?, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์? หมายถึง, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์? คือ, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์? ความหมาย, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์? คืออะไร
อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์?
nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp nbsp อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์
การปรับปรุงพันธุ์ยางพาราและพืชสำคัญๆ นั้นมีการดำเนินการกันอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่กว่าจะได้พันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิมนั้นต้องใช้เวลานานหลายปี บางทีสิบปีก็ยังไม่ได้ตามที่ต้องการ พันธุ์ยางบางพันธุ์ปลูกกันมาแล้วกว่า 30 ปี ก็ยังปลูกกันอยู่ในขณะที่งานวิจัยเพื่อหาพันธุ์ใหม่ก็ดำเนินการกันต่อไป -การปรับปรุงพันธุ์ยาง สามารถพูดได้ว่ามีการดำเนินการต่อเนื่องตลอดมา นับตั้งแต่ชาวยุโรป โดยคริสโตเฟลร์ โคลัมบัส เดินทางไปทวีปอเมริกา เป็นครั้งที่ 2 ในปี 2036-2039 ซึ่งขณะนั้นชาวยุโรปเพิ่งจะ รู้จักยางพารา ยางที่นำเข้ามาปลูกในทวีปเอเซียในสมัยเริ่มแรกราวปี 2419 ซึ่งเป็นเมล็ดยางที่เซอร์เฮนรี่ วิคแฮม รวบรวมมาจากตำบลโบอิม ริมฝั่งแม่น้ำแทปปาวอส ในมลรัฐพารา ของประเทศบราซิลนั้น ก็เป็นเมล็ดพันธุ์ยางจากแหล่งของยางชนิดที่ให้ผลดีที่สุด ซึ่งเท่ากับเป็นการคัดเลือกหรือเป็การปรับปรุงพันธุ์อย่างหนึ่ง กอรปกับมีผลการศึกษาของบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ในเวลาต่อมา ยืนยันว่ายางพาราที่เซอร์เฮนรี่วิคแฮม นำมานี้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีกว่ายางชนิดอื่นๆ ด้วยแล้ว ซึ่งเห็นได้ชัดเจนว่าการปรับปรุงพันธุ์ยางมีการดำเนินการมาช้านานแล้ว และมี quot การดำเนินการต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด โดยทั่วไปวัตถุประสงค์หลักของการปรับปรุงพันธุ์ยาง คือ การผลิตยางพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูง และมีลักษณะรองอื่นๆ ดีขึ้น เช่น ต้านทานโรค ต้านทานลม มีการเจริญเติบโตดี ฯลฯ สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ยางของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะแรกตั้งแต่ปี พ ศ 2476-2507 ระยะนี้ส่วนใหญ่เป็นการคัดเลือกยางพันธุ์พื้นเมือง ที่มีลักษณะดีมารวบรวมไว้ เพื่อทดลองคัดเลือกพันธุ์ดีไว้สำหรับส่งเสริมแนะนำให้ชาวสวนยางปลูกและใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์สำหรับผสมพันธุ์ยางต่อไป ระยะที่ 2 ตั้งแต่ปี พ ศ 2508 จนถึงปัจจุบัน เป็นช่วงที่มีการปรับปรุงพันธุ์ยางอย่างจริงจัง มีการคัดเลือกพันธุ์ ผสมพันธุ์ และนำความรู้ทางวิชาการใหม่ๆ เข้ามาใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์ยาง ขณะเดียวกันก็มีโครงการแลกเปลี่ยนพันธุ์ยางกับต่างประเทศด้วย พันธุ์ยางของไทยที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์จนเป็นพันธุ์ชั้น 1 ที่แนะนำให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปในปัจจุบัน คือพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 PRIT251 ซึ่งเป็นพันธุ์ยางที่คัดเลือกได้จากต้นกล้ายางจากแปลงของเอกชน ในจังหวัดสงขลา มีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูงเฉลี่ย 477 กก ต่อไร่ต่อปี หน่วยงานที่มีหน้าที่โดยตรงในการปรับปรุงพันธุ์ยางคือสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร การปรับปรุงพันธุ์ยางทำได้ทั้งการเลือกพันธุ์และการผสมพันธุ์ซึ่งกว่าจะได้พันธุ์ยางที่ใช้แนะนำให้เกษตรกรปลูกได้นั้นจะต้องใช้เวลา 10-30 ปี ดังจะเห็นได้จากแผนภูมิการปรับปรุงพันธุ์ยางและแผนภูมิขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ยางต่อไปนี้ ขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ยาง ดังนี้ 1 การผสมพันธุ์ยาง 2 การคัดเลือกพันธุ์ยาง 3 การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นต้น 4 การเปรียบเทียบพันธุ์ยางขั้นปลาย 5 แนะนำพันธุ์ยางชั้น 2 6 แนะนำพันธุ์ยางชั้น 1 พันธุ์ยางที่แนะนำให้ปลูกแบ่งเป็น 3 ชั้น ชั้น 1 แนะนำให้ปลูกโดยไม่จำกัดเนื้อที่ปลูก พันธุ์ยางในชั้นนี้ได้ผ่านการทดลองและศึกษาลักษณะต่างๆ อย่างละเอียด ชั้น 2 แนะนำให้ปลูกโดยจำกัดเนื้อที่ปลูก ปลูกได้ไม่เกินร้อยละ 30 ของเนื้อที่ปลูกยางที่ถือครอง แต่ละพันธุ์ควรปลูกไม่น้อยกว่า 7 ไร่ พันธุ์ยางชั้นี้อยู่ในระหว่างการศึกษาลักษณะบางประการเพิ่มเติม ชั้น 3 แนะนำให้ปลูกโดยจำกัดเนื้อที่ปลูก ปลูกได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของเนื้อที่ปลูกยางที่ถือครอง แต่ละพันธุ์ควรปลูกไม่น้อย กว่า 7 ไร่ พันธุ์ยางชั้นนี้ส่วนใหญ่อยู่ในระหว่างการทดลองและต้องศึกษาลักษณะต่างๆ เพิ่มเติม พันธุ์ยางที่แนะนำ ชั้น 1 สถาบันวิจัยยาง 251 สงขลา 36 BMP 24 PB 260 PR 255 RRIC 110 PRIM 600 ชั้น 1 สถาบันวิจัยยาง 226 สถาบันวิจัยยาง 250 BPM 1 PB 235 PRIC 101 ชั้น 3 สถาบันวิจัยยาง 163 สถาบันวิจัยยาง 209 สถาบันวิจัยยาง 214 สถาบันวิจัยยาง 218 สถาบันวิจัยยาง 225 Haiken-2 PR302 PR 305
อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์ หมายถึง, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์ คือ, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์ ความหมาย, อยากทราบว่ายางพาราที่ปลูกกันนี้ โดยปกติแล้วมีการปรับปรุงพันธุ์ยางหรือไม่ แล้วถ้ามีการปรับปรุงพันธุ์ยาง กี่ปีถึงจะมีการปรับปรุงพันธุ์ คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!