การดูแลรักษาแผลที่ถูกงูกัด ทำอย่างไร??
การดูแลรักษาแผลที่ถูกงูกัด ทำอย่างไร
การดูแลรักษาแผลที่ถูกงูกัด ทำอย่างไร
การดูแลรักษา หรือบริเวณที่ถูกกัดให้ถูกต้องมีความสําคัญมาก เนื่องจากอาจเกิด ภาวะแทรกซ้อน เนื้อตายลุกลามและมีการติดเชื้อ การทําความสะอาดแผล หากผิวหนังพองเป็นถุงนํ้าขนาดใหญ่ ปวดมาก หรืออาจกดทับทําให้เกิดการขาดเลือด เช่นปลายนิ้ว ควรใช้เข็มเบอร์ 22-24 G ดูดเอานํ้าในถุงนํ้ าออกด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ และควรแก้ไขให้ VCT ปกติเสียก่อน การเจาะถุงนํ้าหรือตัดเอาผิวหนังออกนอกเหนือ จากกรณีดังกล่าวยังไม่ทราบแน่ชัด ในรายที่มีเนื้อตายลุกลาม อาจต้องพิจารณาทํ า skin graft การให้ยาปฏิชีวนะแบบป้องกันในผู้ป่วยงูกัด ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าได้ ประโยชน์สามารถลดการติดเชื้อของบาดแผล และอุบัติการของการติดเชื้อแผลงูกัดค่อนข้างตํ่า ควร พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะตามสภาพของแผล ในกรณีที่แผลค่อนข้างสกปรกหรือถูกกระทำ มาก่อน เช่น เอาปากดูดพิษออก เอาดินหรือสมุนไพรพอกแผล หรืกรีดแผลมาก่อน หรือเมื่อมีอาการแสดงของการติดเชื้อที่แผลชัดเจน ยาปฏิชีวนะที่ให้ ควรครอบคลุมเชื้อที่เป็นกรัมบวก กรัมลบ และ anaerobe และควรแก้ไขให้ VCT ปกติเสียก่อน การเจาะถุงนํ้ าหรือตัดเอาผิวหนังออกนอกเหนือ จากกรณีดังกล่าวยังไม่ทราบแน่ชัด ในรายที่มีเนื้อตายลุกลาม อาจต้องพิจารณาทํ า skin graft ข้อมูลจาก Siamhealth net
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!