ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่?, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่? หมายถึง, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่? คือ, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่? ความหมาย, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่? คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
คำถาม

กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่?

กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่

คำตอบ

การเลิกจ้างทำได้ 3 กรณี   -                   สัญญาจ้างมีกำหนดระยะเวลา เมื่อสิ้นสุดระยะเวลา   -                   ลูกจ้างกระทำความผิดตามมาตรา 119 และ ปพพ มาตรา 583   -                   การเลิกจ้างระหว่างทดลองงาน                     การเลิกจ้างต้องทำเป็นหนังสือเท่านั้น จะเลิกจ้างด้วยวาจาไม่ได้ มาตรา 17 และต้องบอกเหตุผลไว้ในหนังสือบอกเลิกสัญญาจ้าง                     การเลิกจ้างระหว่างทดลองงาน ถ้าลูกจ้างกระทำความผิด หรือหย่อนประสิทธิภาพ เลิกจ้างได้ทันที โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ถ้าลูกจ้างมิได้กระทำความผิด ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ตามมาตรา 17 วรรค 2 และ 4                     การทดลองงานจะถือว่าเป็นการจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา จะต้องระบุให้ชัดเจนว่า ทดลองงานจนถึงวันที่เท่าใด ถ้าระบุว่าทดลองงานไม่เกิน 120 วัน ถือว่าเป็นการจ้างโดยไม่มีกำหนดระยะเวลา ดังนั้นเมื่อจะเลิกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ยกเลิกกระทำความผิด                     การร้องขอความเป็นธรรมต่อเจ้าพนักงานตรวจแรงงาน ให้ลูกจ้างยื่นคำร้องในท้องที่ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่ลูกจ้างมีภูมิลำเนาอยู่ ตามมาตรา 123                     พนักงานตรวจแรงงานต้องมีคำสั่งภายใน 60 วัน นับแต่วันที่รับคำร้อง และถ้าลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินค่าชดเชย ต้องมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินภายใน 15 วัน นับแต่วันที่นายจ้างทราบหรือถือว่าได้ทราบคำสั่ง มาตรา 124                     นายจ้างหรือลูกจ้างไม่พอใจคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน     ให้ฟ้องศาลแรงงานได้ภายใน 30 วัน นับแต่ทราบคำสั่ง ถ้าไม่ฟ้องศาลภายในกำหนดให้คำสั่งนั้นเป็นที่สุด ในกรณีนายจ้างฟ้องศาลต้องนำเงินค่าจ้างหรือค่าชดเชยไปวางต่อศาลก่อนจึงจะฟ้องคดีได้ มาตรา 125                     ค่าชดเชยลูกจ้าง   จะเรียกได้มากหรือน้อยเป็นไปตามมาตรา 118 แต่ถ้าลูกจ้างทำผิดนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามมาตรา 119

กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่ หมายถึง, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่ คือ, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่ ความหมาย, กรณีพนักงานบกพร่องต่อหน้าที่ทำให้บริษัทได้รับความเสียหายด้านการเงิน บริษัทจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายเงินชดเชยได้หรือไม่ คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำถามแนะนำ

คำถามในหมวดอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu