ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

โรคกระเพาะ, โรคกระเพาะ หมายถึง, โรคกระเพาะ คือ, โรคกระเพาะ ความหมาย, โรคกระเพาะ คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
โรคกระเพาะ

     กระเพาะอาหารเป็นอวัยวะที่อยู่ในระดับลิ้นปี่ ทำหน้าที่เป็นที่พักและย่อยอาหารให้แตกย่อยในเบื้องต้น จากนั้นจึงส่งต่อไปยังลำไส้เล็กเพื่อผ่านกระบวนการย่อยและดูดซึม

     โรคกระเพาะอาหารเป็นโรคที่พบได้บ่อยโรคหนึ่ง แต่อุบัติการณ์ของโรคนี้ในประเทศไทยยังไม่มีรายงานจำนวนที่แน่นอน โรคนี้พบได้ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรทั่วไป โดยสามารถพบได้ในทุกเพศทุกวัย และส่วนใหญ่อาหารหรือแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้น โดยมีรายงานว่าแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้นพบได้บ่อยในคนวัยหนุ่มสาว โดยอายุเฉลี่ยของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้คือ 35 ปี และพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ 4 เท่า ส่วนแผลที่กระเพาะอาหารมักพบในวัยกลางคนขึ้นไป โดยอายุเฉลี่ยของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้คือ 42 ปี และพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ 3 เท่า

     โรคกระเพาะอาหารเปรียบเสมือนดั่งภัยเงียบที่คอยบั่นทอนสุขภาพ หากเราละเลยไม่ให้ความใส่ใจดูแลสังเกตอาการของตนเอง อาจทำให้ได้รับความรุนแรงของโรคจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้นหากพบว่าอาการปวดท้องของตนเองหรือบุคคลใกล้ชิด มีอาการที่ใกล้เคียงกับโรคต่างๆ ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว เพราะถ้าปล่อยทิ้งไว้นาน นอกจากจะส่งผลให้การรักษาไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าที่ควรแล้ว โรคปวดท้องธรรมดาๆ ก็อาจลุกลามกลายเป็นโรคร้ายแรง และอาจถึงขั้นต้องสูญเสียชีวิตในที่สุด



ข้อมูลทั่วไปของโรคกระเพาะอาหาร

     โรคกระเพาะ ตามความหมายของแพทย์ หมายถึง แผลที่เกิดบนเยื่อบุกระเพาะอาหาร (Stomach) หรือลำไส้เล็กส่วนต้นหรือดูโอดีนัม (Duodenum) ตรงกับคำว่า แผลเพ็ปติก (peptic ulcer) แต่เนื่องจากเรามักจะวินิจฉัยผู้ที่มีอาการปวดท้องตรงยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ที่เกิดก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร ว่าเป็น

พยาธิวิทยาของโรค

อาการ
     มักมีอาการปวดท้องเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ บางรายอาจค่อนมาทางขวาหรือซ้ายก็ได้ เวลาที่ปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น ก่อนหรือหลังอาหาร ลักษณะการปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าวก่อนเวลาอาหาร บางครั้งอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน หรือเรอเปรี้ยวร่วมด้วย 

     ในผู้ป่วยที่มีแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้น มักมีอาการปวดท้องหลังกินอาหารแล้วประมาณ 1

การควบคุมและป้องกันโรค

      ผู้ป่วยที่กินยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติก เช่น ผู้สูงอายุ, ผู้ที่ต้องใช้ยานี้ในขนาดสูงหรือนาน ๆ หรือใช้ร่วมกับยาสเตอรอยด์, ผู้ที่เคยเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อน เป็นต้น ควรให้กินยาป้องกันควบคู่ด้วย ได้แก่ ไมโซพรอสตอล (misoprostol) มีชื่อทางการค้า เช่น ไซไตเทก (Cytotec) 100

การปฏิบัติตน

     1. ผู้ป่วยที่เริ่มให้การรักษาด้วยยารักษาแผลเพ็ปติก ถ้ายังมีอาการปวดท้อง ควรให้ยาลดกรด (ย14.1) ช่วยบรรเทาอาการ ครั้งละ 15

โรคกระเพาะ, โรคกระเพาะ หมายถึง, โรคกระเพาะ คือ, โรคกระเพาะ ความหมาย, โรคกระเพาะ คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำยอดฮิต

Sanook.commenu