ชื่อวิทยาศาสตร์: Artabotrys siamesis Miq
ชื่อวงศ์: ANNONACEAE
ชื่อสามัญ: Karawak
ชื่อท้องถิ่น: กระดังงางัว
ถิ่นกำเนิด: ประเทศไทย
ลักษณะวิสัย: ไม้รอเลื้อย
ลักษณะทั่วไป: เป็นพืชบก มีมือเกาะ มีกลีบดอกหนา เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ดอกที่ออกใหม่มีสีเขียวเมื่อดอกแก่จะมีสีเหลืองและมีกลิ่นหอม กลิ่นจะหอมจัดในตอนเย็น และตอนเช้ามืด เมื่อสายกลิ่นหอมจะหายไป ใบเรียงสลับ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมเป็นมัน เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ผลเป็นกลุ่มสีเขียวเข้ม มีปุ่มตามลำต้น
ประโยชน์: เป็นไม้ดอกไม้ประดับให้ร่มเงาให้ดอกตลอดปี มีกลิ่นหอมใช้ทำเครื่องหอม
การขยายพันธุ์: เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ความสำคัญ: เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์
กิ่งก้าน: เป็นมือเกาะที่เป็นลายกนกของไทย แข็งแรง ให้ร่มเงาเป็นที่พักอาศัยของผู้ผ่านไปมา หมายถึงโรงเรียน จัดการศึกษาเพื่อปวงชน
ใบสีเขียว: บุคลากรมีชีวิตชีวา สดชื่น ร่าเริง ลำต้นเจริญเติบโตเร็ว และอดทนต่อดินฟ้าอากาศ หมายถึงบุคลากรที่มีการพัฒนาอยู่เสมอ พร้อมอุทิศตนในการทำหน้าที่ ด้วยใจรัก และเสียสละ
ดอกสีเหลือง: ความสงบร่มเย็น ให้กลิ่นหอมในเวลากลางคืน บุคลากรทำความดี เมตตาโดยไม่หวังผล
ต้นและดอกการเวก: สื่อความหมายในด้านคุณธรรม ความสุภาพอ่อนโยน และความเป็นกุสตรีไทย
การเวก
การเวก, การเวก หมายถึง, การเวก คือ, การเวก ความหมาย, การเวก คืออะไร
การเวก, การเวก หมายถึง, การเวก คือ, การเวก ความหมาย, การเวก คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!