7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย
7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย หมายถึง, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย คือ, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย ความหมาย, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย คืออะไร
โรคท้องอืด หรืออาหารไม่ย่อย เป็นอีกโรคหนึ่งที่พบได้บ่อย เป็นอาการผิดปกติของท้องหรือลำไส้ มักมีอาการบริเวณตรงกลางของท้องด้านบน อยู่ระหว่างใต้ลิ้นปี่และเหนือสะดือ จะรู้สึก แน่นท้อง มีลมในท้อง เรอบ่อยๆ หากมีอาการท้องอืดบ่อยๆและหากเป็นมากๆก็จะมีอาการปวดท้องเป็นพักๆ แต่ถ้าอาการท้องอืด นี้เกิดขึ้นอย่างเรื้อรังก็อาจเป็นอาการนำร่องของบางโรคที่รุนรงหรือร้ายแรง เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร แผลในกระเพาะอาหาร หรือกระเพาะอาหารอักเสบ นิ่วในถุงน้ำดี โรคลำไส้แปรปรวน เป็นต้น
พฤติกรรม หรืออุปนิสัย ลักษณะการกินอาหาร ดังต่อไปนี้ทำให้เกิดอาการท้องอืดได้ง่ายๆ และเป็นปัจจัยเเสี่ยงของบางโรคได้
1. กินอาหารผิดเวลา ด้วยการกินอาหารให้ตรงเวลา
2. กินอาหารรสจัด มีไขมันสูงย่อยยาก เช่น ชีส พิซซ่า เค้ก นม น้ำอัดลม เมื่อรับประทานนมมากเกินไป อาจจะทำให้อาการท้องอืด
3. การรีบเร่งกินอาหารหรือเคี้ยวไม่ละเอียด พอรับประทานครั้งละมากๆก็เกิดการย่อยยาก ควรเคี้ยว อาหารให้เข้ากันดี ก่อนกลืนอาหาร
4. กินอาหารจนอิ่มมากเกินไป ควรลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง และแบ่งเป็นมื้อย่อยๆ แต่กินบ่อยๆ แทน
5. กินอาหารอิ่มใหม่ๆ ไม่ควรนอนราบทันทีเพราะ การนอนราบ ส่งผลให้ระดับของกระเพาะอาหารและหลอดอาหารจะอยู่ในระนาบเดียวกันและอาจทำให้กรดไหลจากกระเพาะอาหารย้อนกลับเข้าสู่หลอดอาหารได้ เกิดการระคายเคือง และหลอดอาหารอักเสบได้
6. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เหล้า เบียร์ น้ำอัดลม โซดา เครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน (กาแฟ ชา)
7. การใช้ยากลุ่ม NSAIDs (เอ็นเสด) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ ถ้าจำเป็นต้องใช้ยากลุ่มนี้ควรปรึกษาแพทย์
ที่มาข้อมูล : MCOT.net
7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย หมายถึง, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย คือ, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย ความหมาย, 7 พฤติกรรมปัจจัยเสี่ยงโรคร้าย คืออะไร
ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!