1. TOD และ TOU เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่กำหนดให้ราคาแตกต่างกันตามช่วงเวลาเหมือนกันแต่รายละเอียดของช่วงเวลา และ ราคาที่แตกต่างกันตามค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์) และค่าพลังงานไฟฟ้า(หน่วย)แตกต่างกันออกไปดังนี้
1.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( Time of day Rate : TOD)
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท / กิโลวัตต์)
(บาท / หน่วย)
Peak
Partial
Off Peak
1. แรงดันตั้งแต่ 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป
224.30
29.91
0
2.7441
2. แรงดัน 22-33 กิโลโวลท์
285.05
58.88
0
2.7815
3. แรงดันต่ำกว่า 22 กิโลโวลท์
332.71
68.22
0
2.8095
Peak : เวลา 18.30 - 21.30 น. ของทุกวัน
Partial : เวลา 08.00 - 18.30 น. ของทุกวัน ( ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า คิดเฉพาะส่วนที่เกิน Peak )
Off Peak : เวลา 21.30 - 08.00 น. ของทุกวัน
1.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( Time of Use Rate : TOU )
อัตราขั้นต่ำ : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดในรอบ 12 เดือน ที่ผ่านมาสิ้นสุดในเดือนปัจจุบัน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
ค่าพลังงานไฟฟ้า
ค่าบริการ
(บาท / กิโลวัตต์)
(บาท /หน่วย)
(บาท / เดือน)
Peak
Peak
Off Peak
1. แรงดันตั้งแต่ 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป
74.14
3.6917
2.2507
312.24
2. แรงดัน 22-33 กิโลโวลท์
132.93
3.7731
2.2695
312.24
3. แรงดันต่ำกว่า 22 กิโลโวลท์
210.00
3.9189
2.3027
312.24
Peak :วันจันทร์ - ศุกร์ 09.00 - 22.00 น
Off Peak : วันจันทร์ - ศุกร์ 22.00 - 09.00 น. และวันเสาร์ วันอาทิตย์ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย) ทั้งวัน
00.00-24.00 วันเสาร์-อาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันพืชมงคลที่ตรงกับ วันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการตามปกติ(ไม่รวมวันหยุดชดเชย)
2. การใช้อัตรา TOD และ TOU ในลักษณะที่เป็นอัตราเลือก และอัตราบังคับ
ลักษณะการใช้ไฟฟ้า
ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า
รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า
1. ไม่ถึง 30 กว.
บ้านอยู่อาศัย (10)
กิจการขนาดเล็ก(20)
- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้าโดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
2. ตั้งแต่ 30 แต่ไม่ถึง1,000 กว.และหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วย
กิจการขนาดกลาง(30)
- รายเดิมประเภท 30: ก่อน ต.ค. 2543 อัตราปกติโดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
- รายเดิมประเภท 20 ที่ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 30 กว.หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU
- รายใหม่ หลัง ต.ค. 2543: บังคับใช้ TOU
3. ตั้งแต่ 1,000 กว. ขึ้นไปหรือหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน เกิน 250,000 หน่วย
กิจการขนาดใหญ่ (40)
- TOD เดิม : อัตรา TOD ต่อไป โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
- รายเดิมประเภท 30 ที่ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 1,000 กว. หรือหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน 250,000 หน่วย หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU
- รายใหม่ หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU
4. โรงแรม กิจการพักอาศัยให้เช่า ตั้งแต่ 30 กว. ขั้นไป
กิจการเฉพาะอย่าง(50)
- บังคับใช้ TOU ทุกราย
5. หน่วยราชการหน่วยเฉลี่ย 3 เดือนไม่เกิน 250,000 หน่วย
ส่วนราชการฯ (60)
- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้า โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
6. เครื่องสูบน้ำเพื่อการเกษตรของราชการ
สูบน้ำเพื่อการเกษตร(70)
- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้า โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
หมายเหตุ :
1. การเลือกใช้อัตรา TOU เมื่อเลือกแล้วไม่สามารถกลับไปใช้อัตราประเภทเดิมได้
2. รายละเอียดอัตราแต่ละประเภทสามารถดูได้ ที่นี่
3. ผู้ใช้ไฟฟ้าหน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือนก่อนหน้าไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน ยังคงคิดอัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร ถึงค่าไฟฟ้าประจำเดือน ก.ย. 2555 และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจำเดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป จะจัดเข้าประเภทที่ 2 หรือ 3 หรือ 4 แล้วแต่กรณี
4. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.)
กฟภ. จะเรียกเก็บค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.) กับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ และประเภทที่ 5กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทที่ 6.2 องค์ที่ไม่แสวงหากำไรและประเภทที่ 7.2 สูบน้ำเพื่อการเกษตร โดยจะคิดว่า P.F. จากค่ากิโลวาร์สูงสุดเฉพาะในส่วนที่เกินจากร้อยละ 61.97 ของค่าความต้องพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07บาท ( เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ )
5.ค่า Ft คือ ค่าความผันแปรที่ปรับเพิ่มขั้น หรือ ลดลง ตามภาวะต้นทุนการผลิต การส่งและการจำหน่ายที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากต้นทุนที่กำหนดไว้ในค่าไฟฟ้าพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และหน่วยจำหน่ายที่เปลี่ยนแปลงไปจากที่ประมาณการไว้ในการกำหนดอัตราค่าไฟฟ้าฐาน จะคิดกับผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภทในอัตราเท่ากันทุกหน่วย ค่า Ft โดยปกติจะมีการเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือนเพื่อไม่ให้ค่าไฟฟ้าผันผวนมากเกินไป
ตัวอย่างการคิดค่าไฟฟ้า TOD และ TOU
ตัวอย่างที่ 1 ไฟฟ้าอัตรา TOD (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)
ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าอัตรา TOU (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)
ตัวอย่างที่ 1 ไฟฟ้าอัตรา TOD (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)
ตัวอย่างที่ 1 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Rate : TOD)
ระดับแรงดัน 22 -33 เควี
ความต้องการพลังไฟฟ้า
On Peak (ทุกวัน 18.30
ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าอัตรา TOU (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)
ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)
(ระดับแรงดัน 22