ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย), วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) หมายถึง, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) คือ, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) ความหมาย, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย)

วันคณิตศาสตร์โลก หรือวันพาย (Pi Day) และวันประมาณการค่าพาย (Pi Approximation Day) 

      ถือว่าเป็นวันหยุดอย่างไม่เป็นทางการ 2 วัน จัดขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ π (พาย) ตรงกับวันที่ 14 มีนาคมของทุกปี โดยสาเหตุที่ยึดเอาวันนี้เป็นวันพายนั้น เนื่องจากค่าประมาณของพาย คือ 3.14 หากนับเอาแค่ทศนิยม 2 ตำแหน่ง อีกทั้งในวันนี้ยังเป็นวันคล้ายวันเกิดของนักวิทยาศาสตร์ชื่อก้องโลก อย่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ด้วย ซึ่งมักจะมีการเฉลิมฉลองทั้งสองเหตุการณ์สำคัญในวันเดียวกัน

วันคณิตศาสตร์โลก

วันประมาณการค่าพาย (Pi Approximation Day) มักจะขึ้นในวันที่ 22 กรกฎาคมของทุกปี

เนื่องจาก อาร์คิมbดีส นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกมักจะประมาณค่าพายอยู่ที่ 22/7 แต่อย่างไรก็ตาม วันทั้งสองอาจทำให้เกิดความเข้าใจที่คาดเคลื่อนได้ เนื่องจากวันที่ 22 กรกฎา จะถูกเรียกว่าเป็น วันประมาณการค่า โดยที่ พาย เป็นจำนวนอรรตกยะ และ 22/7 ก็เป็นค่าที่ใกล้เคียงของพายมากกว่า 3.14 ทำให้วันพาย (14 มีนาคม) จึงจัดเฉพาะประเทศที่ใช้รูปแบบการบอกเวลาเป็น เดือน/วัน และวันประมาณการค่าพาย (22 กรกฎาคม) จะจัดเฉพาะในประเทศที่ใช้รูปแบบการบอกเวลาเป็น วัน/เดือน

แต่โอกาสดีๆ ที่จะทำให้เกิดปรากฏการณ์พิเศษนั้นมีได้ไม่บ่อย อย่าง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 2015 เวลา 9 นาฬิกา 26 นาที 53 วินาที นับเป็นวันที่พายเรียงตรงตามค่าคงตัวสอบตัวแรงของพาย 3.141592653 ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้จะเกิดขึ้นได้อีกใน 100 ปีข้างหน้า

วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย), วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) หมายถึง, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) คือ, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) ความหมาย, วันคณิตศาสตร์โลก (วันพาย) คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำยอดฮิต

Sanook.commenu