ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD หมายถึง, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD คือ, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD ความหมาย, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD

1. TOD และ TOU เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่กำหนดให้ราคาแตกต่างกันตามช่วงเวลาเหมือนกันแต่รายละเอียดของช่วงเวลา และ ราคาที่แตกต่างกันตามค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์) และค่าพลังงานไฟฟ้า(หน่วย)แตกต่างกันออกไปดังนี้

1.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( Time of day Rate : TOD)

 

ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า

ค่าพลังงานไฟฟ้า

 

(บาท / กิโลวัตต์)

(บาท / หน่วย)

 

Peak

Partial

Off Peak

1. แรงดันตั้งแต่ 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป

224.30

29.91

0

2.7441

2. แรงดัน 22-33 กิโลโวลท์

285.05

58.88

0

2.7815

3. แรงดันต่ำกว่า 22 กิโลโวลท์

332.71

68.22

0

2.8095

 

 

 

 

 

Peak : เวลา 18.30 - 21.30 น. ของทุกวัน

 

 

 

 

Partial : เวลา 08.00 - 18.30 น. ของทุกวัน ( ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า คิดเฉพาะส่วนที่เกิน Peak )

Off Peak : เวลา 21.30 - 08.00 น. ของทุกวัน

 

 

 

 

 

1.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( Time of Use Rate : TOU )

อัตราขั้นต่ำ : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดในรอบ 12 เดือน ที่ผ่านมาสิ้นสุดในเดือนปัจจุบัน

 

ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า

ค่าพลังงานไฟฟ้า

ค่าบริการ

 

(บาท / กิโลวัตต์)

(บาท /หน่วย)

(บาท / เดือน)

 

Peak

Peak

Off Peak

1. แรงดันตั้งแต่ 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป

74.14

3.6917

2.2507

312.24

2. แรงดัน 22-33 กิโลโวลท์

132.93

3.7731

2.2695

312.24

3. แรงดันต่ำกว่า 22 กิโลโวลท์

210.00

3.9189

2.3027

312.24

 

 

 

 

 

Peak :วันจันทร์ - ศุกร์ 09.00 - 22.00 น

 

 

 

 

Off Peak : วันจันทร์ - ศุกร์ 22.00 - 09.00 น. และวันเสาร์ วันอาทิตย์ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย) ทั้งวัน

00.00-24.00 วันเสาร์-อาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันพืชมงคลที่ตรงกับ วันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการตามปกติ(ไม่รวมวันหยุดชดเชย)

 

2. การใช้อัตรา TOD และ TOU ในลักษณะที่เป็นอัตราเลือก และอัตราบังคับ

ลักษณะการใช้ไฟฟ้า

ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า

รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า

1. ไม่ถึง 30 กว.

บ้านอยู่อาศัย (10)
กิจการขนาดเล็ก(20) 

- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้าโดยมี TOU เป็นอัตราเลือก

2. ตั้งแต่ 30 แต่ไม่ถึง1,000 กว.และหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วย

กิจการขนาดกลาง(30)

- รายเดิมประเภท 30: ก่อน ต.ค. 2543 อัตราปกติโดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
- รายเดิมประเภท 20 ที่ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 30 กว.หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU
- รายใหม่ หลัง ต.ค. 2543: บังคับใช้ TOU

3. ตั้งแต่ 1,000 กว. ขึ้นไปหรือหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน เกิน 250,000 หน่วย

กิจการขนาดใหญ่ (40)

- TOD เดิม : อัตรา TOD ต่อไป โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก
- รายเดิมประเภท 30 ที่ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 1,000 กว. หรือหน่วยเฉลี่ย 3 เดือน 250,000 หน่วย หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU
- รายใหม่ หลัง ต.ค. 2543 : บังคับใช้ TOU

4. โรงแรม กิจการพักอาศัยให้เช่า ตั้งแต่ 30 กว. ขั้นไป

กิจการเฉพาะอย่าง(50)

- บังคับใช้ TOU ทุกราย

5. หน่วยราชการหน่วยเฉลี่ย 3 เดือนไม่เกิน 250,000 หน่วย

ส่วนราชการฯ (60)

- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้า โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก

6. เครื่องสูบน้ำเพื่อการเกษตรของราชการ

สูบน้ำเพื่อการเกษตร(70)

- คิดเฉพาะด้านหน่วย ตามช่วงการใช้ไฟฟ้าในลักษณะอัตราก้าวหน้า โดยมี TOU เป็นอัตราเลือก

หมายเหตุ :

1. การเลือกใช้อัตรา TOU เมื่อเลือกแล้วไม่สามารถกลับไปใช้อัตราประเภทเดิมได้

2. รายละเอียดอัตราแต่ละประเภทสามารถดูได้ ที่นี่ 

3. ผู้ใช้ไฟฟ้าหน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือนก่อนหน้าไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน ยังคงคิดอัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร ถึงค่าไฟฟ้าประจำเดือน ก.ย. 2555 และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจำเดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป จะจัดเข้าประเภทที่ 2 หรือ 3 หรือ 4 แล้วแต่กรณี 

4. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.)

กฟภ. จะเรียกเก็บค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.) กับผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ และประเภทที่ 5กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทที่ 6.2 องค์ที่ไม่แสวงหากำไรและประเภทที่ 7.2 สูบน้ำเพื่อการเกษตร โดยจะคิดว่า P.F. จากค่ากิโลวาร์สูงสุดเฉพาะในส่วนที่เกินจากร้อยละ 61.97 ของค่าความต้องพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07บาท ( เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ )

5.ค่า Ft คือ ค่าความผันแปรที่ปรับเพิ่มขั้น หรือ ลดลง ตามภาวะต้นทุนการผลิต การส่งและการจำหน่ายที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากต้นทุนที่กำหนดไว้ในค่าไฟฟ้าพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และหน่วยจำหน่ายที่เปลี่ยนแปลงไปจากที่ประมาณการไว้ในการกำหนดอัตราค่าไฟฟ้าฐาน จะคิดกับผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภทในอัตราเท่ากันทุกหน่วย ค่า Ft โดยปกติจะมีการเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือนเพื่อไม่ให้ค่าไฟฟ้าผันผวนมากเกินไป

 

ตัวอย่างการคิดค่าไฟฟ้า TOD และ TOU 

ตัวอย่างที่ 1 ไฟฟ้าอัตรา TOD (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป) 
ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าอัตรา TOU (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)




ตัวอย่างที่ 1 ไฟฟ้าอัตรา TOD (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)


ตัวอย่างที่ 1 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Rate : TOD)  
ระดับแรงดัน 22 -33 เควี

ความต้องการพลังไฟฟ้า

On Peak (ทุกวัน 18.30

ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าอัตรา TOU (ระดับแรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป)

ตัวอย่างที่ 2 ค่าไฟฟ้าคิดอัตราประเภทที่ 4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)
(ระดับแรงดัน 22

วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD หมายถึง, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD คือ, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD ความหมาย, วิธีคิดค่าไฟฟ้าอัตรา TOU และ TOD คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำยอดฮิต

Sanook.commenu