ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

กินหวานอย่างไรไม่อันตราย, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย หมายถึง, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย คือ, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย ความหมาย, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
กินหวานอย่างไรไม่อันตราย

สารให้ความหวานที่มีอยู่ตามท้องตลาด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

          - สารให้ความหวานที่ให้พลังงาน
          - สารให้ความหวานที่ไม่ให้พลังงาน หรือสารทดแทนความหวานที่เรียกว่า น้ำตาลเทียม
          - น้ำตาลแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นสารให้ความหวานที่ให้พลังงานต่ำ

คนไทยกินน้ำตาลได้แค่ไหน

          น้ำตาลจัดเป็นอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีเส้นใยอาหาร น้ำตาล 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี ข้อแนะนำในการรับประทานน้ำตาล คือ จำกัดไว้ที่ 5-10% ของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดในหนึ่งวัน ซึ่งตามหลักโภชนาการแนะนำ ให้กินน้ำตาลในปริมาณน้อยเช่นเดียวกับไขมันและเกลือ สำหรับคนไทยกองโภชนาการแนะนำว่า ไม่ควรกินน้ำตาลเกิน 6 ช้อนชาต่อวัน

          คนส่วนใหญ่เมื่อรับประทานน้ำตาล ไม่ว่าจะในรูปเครื่องปรุง หรือขนมหวานมักลืมว่าน้ำตาลให้พลังงานเช่นเดียวกับข้าวและแป้ง จึงถือเป็นพลังงานส่วนเกินที่ร่างกายจะได้รับ น้ำตาลเพียง 1 ช้อนโต๊ะให้พลังงานถึง 48 กิโลแคลอรีซึ่งเท่ากับข้าวประมาณ ? ทัพพี อีกทั้งยังไม่มีวิตามิน เกลือแร่ กากใยอาหารที่ร่างกายต้องการ ดังนั้นการรับประทานอาหารที่มีน้ำตาลมากเกินไป จึงทำให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆ ตามมา เช่น ฟันผุ ไขมันในเลือดสูง อ้วนง่าย

          สารให้ความหวานที่ให้พลังงานชนิดอื่นนอกเหนือ จากน้ำตาลทรายและฟรุคโตส ได้แก่ น้ำเชื่อมจากข้าวโพด น้ำผลไม้หรือน้ำผลไม้เข้มข้น น้ำผึ้ง กากน้ำตาล (molasses) เด็กซ์โทรส (dextrose) และ มอลโตส (maltose) มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดเช่นเดียวกับน้ำตาลทราย และฟรุคโตส นอกจากนี้ยังมีน้ำตาลแอลกอฮอล์ ซึ่งมีผลต่อระดับน้ำตาลน้อยกว่าน้ำตาลทรายและคาร์โบไฮเดรตอื่นๆ แต่ถ้ากินมากจะรู้สึกไม่สบายท้องหรือท้องเสีย

8 วิธีลดน้ำตาล ลดโรค

          1. หยุดเติมน้ำตาล เป็นวิธีง่ายที่สุดและเห็นผลในการลดน้ำหนักและพลังงาน แต่การหยุดกินน้ำตาลทันทีอาจทำได้ยาก จึงควรลดปริมาณน้ำตาลลงทีละน้อย เช่น ลดปริมาณน้ำตาลในชา กาแฟและนมที่ดื่มอยู่ หรืออาจใช้น้ำตาลเทียมซึ่งให้แคลอรีน้อยแทนน้ำตาล เลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น ขนมจุบจิบ ลูกอม ช็อคโกแลต เป็นต้น

          2. อย่าหลงคารมคำโฆษณาว่าเป็น

กินหวานอย่างไรไม่อันตราย, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย หมายถึง, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย คือ, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย ความหมาย, กินหวานอย่างไรไม่อันตราย คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำยอดฮิต

Sanook.commenu