เมืองโบราณ (Ancient City) เปรียบดัง บานประตูที่เผยออกให้เห็นถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรม ของสยามประเทศ ซึ่งผู้มาเยือน จะได้เห็นถึง ความสืบเนื่อง ของประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา ความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญาไทย และเข้าใจถึง รากเหง้าแห่งความเป็นไทย รวมทั้ง ความหลากหลายของ ศิลปวัฒนธรรมบนผืนแผ่นดินไทย
ณ ดินแดน เมืองโบราณ ภาพในอดีตของสยามประเทศ จะหวนกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง ให้ผู้มาเยือนได้สัมผัส และรับรู้ เมืองโบราณสร้างขึ้นตาม รูปพรรณสันฐานของ ประเทศไทย และแบ่งออกเป็น ภูมิภาคต่างๆ เพื่อสะดวกในการเข้าชม
ประตูทางเข้านั้นได้กำหนดให้อยู่ทางภาคใต้ เดินทางเรื่อยไปจนถึงภาคกลาง มุ่งขึ้นสู่ภาคเหนือ เดินทางต่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วกไปทางด้านตะวันออก ตรงไปทางด้านตะวันตก เข้าสู่ส่วนที่เมืองโบราณได้รังสรรค์สถานที่ ซึ่งเกี่ยวกับระบบความคิด ความเชื่อ และภูมิปัญญาไทย
(ที่มา : เว็บไซต์เมืองโบราณ สมุทรปราการ ประเทศไทย : https://www.ancientcity.com )
ภาคใต้
ภาคใต้ : ดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา
พื้นที่เรียวแหลมเล็กทางภาคใต้ของประเทศ ขนาบด้วยชายฝั่งทะเล สถานที่ขึ้นบกของนักเดินทางในสมัยโบราณ เป็นที่ตั้งของพระบรมธาตุองค์สำคัญทางพุทธศาสนา เช่น พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช, พระบรมธาตุไชยา ฯลฯ
1. พระแท่นที่ประทับ
2. ศาลาหน้าเมือง
3. ประตูเมือง
4. สวนอิเหนา
5. ศาลาในเมือง
6. สวนมโนห์รา
7. พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช
8. เทวรูปปัลลวะ พังงา
9. พระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี
10. ตลาดโบราณ หรือ ตลาดบก
11. ศาลาการเปรียญวัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี
12 หอพระไตรปิฎก
13. หอระฆัง
14. พระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : แอ่งอารยธรรมอีสาน
พื้นที่อันกว้างใหญ่ไพศาลที่ปรากฏร่องรอยของศิลปวัฒนธรรมที่เก่าแก่และหลากหลาย นับแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคประวัติศาสตร์ และศิลปะพื้นบ้านพื้นเมือง
63. พระเจดีย์ศรีสองรักษ์
64. มณฑปพระพุทธบาทยืน อุตรดิตถ์
65. ยมกปาฏิหาริย์
66. พระธาตุบังพวน หนองคาย
67. ศาลาเทพารักษ์
68. ผาแดงนางไอ่
69. พระธาตุนารายณ์เจงเวง สกลนคร
70. วิหารล้านช้างและหอไตร
71. พระธาตุพนม
72. เขาพระวิหาร
73. พระนอน
74. หอนางอุษา อุดรธานี
75. พิพิธภัณฑ์ชาวนา
76. พระธาตุยาคู กาฬสินธุ์
77. กู่คูมหาธาตุ มหาสารคาม
78. ปราสาทหินหนองกู่ ร้อยเอ็ด
79. สวนสังข์ทอง
82. กุฏิวิปัสสนา
83. พระพุทธรูปนาคปรก
84. บ้านโซ่ง
85. พระธาตุสามหมื่น ชัยภูมิ
86. ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา
87. ปราสาทหินพนมรุ้ง บุรีรัมย์
88. ศาลาแปดเหลี่ยม
89. กวนเกษียรสมุทร
90. ปราสาทศรีขรภูมิ สุรินทร์
91. วิหารทวารวดี
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออก : ปราการสำคัญของแผ่นดินสยาม
ดินแดนชายฝั่งทะเลตะวันออกของสยามที่อุดมสมบูรณ์ ป้อมปราการทางทะเลที่สำคัญของประเทศ ที่ทั้งของหัวเมืองชายทะเลที่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ
92. ป่าเจดีย์
93. ปราสาทหินสต๊อกก๊อกธม สระแก้ว
94. โรงละคร
95. ศาลาโถงวัดนิมิต ตราด
96. สวนพระอภัยมณี
97. ป้อมและกำแพงเมืองฉะเชิงเทรา
98. ตึกแดง จันทบุรี
อาณาบริเวณส่วนรังสรรค์
อาณาบริเวณส่วนรังสรรค์ : ภาพสะท้อนภูมิปัญญาไทย
พื้นที่ส่วนที่เมืองโบราณได้ขยายออกไปจากรูปพรรณสันฐานแผนที่ประเทศไทย เมืองโบราณได้สร้างสถานที่ซึ่งแสดงให้เห็นถึงระบบความคิด ความเชื่อและภูมิปัญญาในสังคมไทย
100. ศาลาทศชาติ
101. เสาชิงช้าและโบสถ์พราหมณ์
102. เขาพระสุเมรุ
103. ศาลาฤาษีดัดตน
104. ขบวนเสด็จพยุหยาตราทางชลมารค
105. มณฑป พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร (เจ้าแม่กวนอิม ปางเมตาธรรม)
106. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร (เจ้าแม่กวนอิม ปางแสดงปาฏิหาริย์)
107. ศาลารามเกียรติ์
108. มณฑปพระธาตุ
109. สวนพฤกษชาติในวรรณคดีไทย
110. ศาลาพระอรหันต์
111. สะพานรุ้ง
112. ศาลาระลึกชาติ
ภาคกลาง
ภาคกลาง : ศูนย์กลางการปกครองของสยามประเทศ
อาณาบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำอันกว้างใหญ่ สถานที่ตั้งของราชธานีแห่งสยามประเทศทั้ง กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ ดินแดนที่สะท้อนภาพความรุ่งเรืองของอารยธรรมสยาม
15. สวนขวา
16. ท้องพระโรงกรุงธนบุรี
17. พระพุทธรูปทวารวดี
18. เรือนทับขวัญ (เรือนไทยทวารวดี)
19. คุ้มขุนแผน (เรือนไทยอยุธยา)
20. สงครามยุทธหัตถี
21. อนุสรณ์สถานกรมพระราชวังบวรฯ
22. ด่านเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี
23. พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
24. เรือนต้น
25. วิหารพระศรีสรรเพชญ อยุธยา
26. พระที่นั่งจอมทอง อยุธยา
27. พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท
28. สวนรามเกียรติ์
29. พระตำหนักคำหยาด อ่างทอง
30. หอพระแก้ว
31. สวนขุนช้างขุนแผน
32. พระปรางค์ยอดกลีบมะเฟือง ชัยนาท
33. มณฑปพระพุทธบาท สระบุรี
34. กุฏิพระสงฆ์
35. พระปรางค์สามยอด ลพบุรี
36. วิหารวัดโพธิ์เก้าต้น สิงห์บุรี
38. หมู่บ้านไทยภาคกลาง
99. ศาลหลักเมือง
ภาคเหนือ
ภาคเหนือ : ความงดงามของดินแดนล้านนา
ดินแดนทางภาคเหนือ ที่ตั้งของกรุงสุโขทัย ผู้มาเยือนจะสัมผัสได้ถึงความงดงามอันอ่อนหวานและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของศิลปะล้านนา
39. ประตูวัดโพธิ์ประทับช้าง พิจิตร
40. สวนไกรทอง
41. พระปรางค์วัดจุฬามณี พิษณุโลก
42. วิหารสุโขทัย
43. อุทยานเทวโลก
44. ป้อมเมืองกำแพงเพชร
45. ตลาดน้ำ
46. วิหารวัดพร้าว ตาก
47. เจดีย์ยอดทรงดอกบัว
48. ศาลาร้องทุกข์ สุโขทัย
49. เนินปราสาท สุโขทัย
50. วิหารหลวงวัดมหาธาตุ สุโขทัย
51. พระมหาธาตุเจดีย์ สุโขทัย
52. สวนพระลอ แพร่
53. หอคำ ลำปาง
54. เจดีย์จามเทวี ลำพูน
55. วัดจองคำ ลำปาง
56. วิหารเมืองสะเมิง
57. เจดีย์เจ็ดยอด เชียงใหม่
58. วิหารวัดเชียงของ
59. โบสถ์น้ำ
60. หมู่บ้านไทยภาคเหนือ
61. พระธาตุจอมกิตติ เชียงราย
62. วิหารวัดภูมินทร์
80. ปรางค์ศรีเทพ เพชรบูรณ์
81. เทวรูปสวมหมวกแขก