ความรู้ เกร็ดความรู้ สารานุกรม สารานุกรมออนไลน์ ความรู้รอบตัว ความรู้ทั่วไป พจนานุกรม เกมส์ เพลงใหม่ เพลง

มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่?, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่? หมายถึง, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่? คือ, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่? ความหมาย, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่? คืออะไร
| เปิดอ่าน 0 | ความคิดเห็น 0
คำถาม

มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่?

รายได้หลักของกิจการคือซื้อมาขายไปแต่ทางบริษัทได้ให้บริษัทอื่นเช่าพื้นที่และคิดค่าไฟฟ้าทางบริษัทต้องนำยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่

คำตอบ

ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเสียภาษีอากร                     ภาษีอากรที่จัดเก็บแต่ละประเภทกำหนดสถานะผู้มีหน้าที่เสียภาษี และวิธีการเสียภาษีแตกต่างกันแล้วแต่กรณี ภาษีที่จัดเก็บจากรายได้นั้น ครอบคลุมผู้มีรายได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา คณะบุคคล และนิติบุคคลประเภทต่างๆ โดยมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้แตกต่างกันไป ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บจากผู้มีรายได้ที่เป็นบุคคลทั่วไป และหน่วยภาษีที่ได้กำหนดไว้เป็นพิเศษ สำหรับภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้ปิโตรเลียม จัดเก็บจากนิติบุคคลที่มีรายได้ เป็นต้น                     ภาษีบางประเภทจัดเก็บจากการบริโภคสินค้าและบริการ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีที่จัดเก็บจากผู้ประกอบธุรกิจการค้าซึ่งสามารถผลักภาระภาษีไปให้แก่ผู้บริโภคได้ นอกจากนี้ผู้กระทำตราสารบางประเภทอาจอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีที่เรียกว่า อากรแสตมป์ อีกด้วย                     กรมสรรพากรได้บริหารการจัดเก็บภาษีอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการบริหารข้อมูล ฉะนั้นในการเข้าสู่ระบบของกรมสรรพากรเพื่อเสียภาษีอากรทุกประเภท ผู้เสียภาษีจึงต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร เพื่อใช้ติดต่อเสียภาษี นอกจากนี้หากเป็นการประกอบกิจการขายสินค้า หรือให้บริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีธุรกิจเฉพาะ กฎหมายกำหนดให้ผู้ประกอบการมีหน้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ ภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ   ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ไม่ว่าผู้ประกอบกิจการดังกล่าวจะประกอบกิจการในรูปของ                 -     บุคคลธรรมดา                 -     คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล                 -     กองมรดก                 -     ห้างหุ้นส่วนสามัญ                 -     กองทุน                 -     หน่วยงานหรือกิจการของเอกชนที่กระทำโดยบุคคลธรรมดาตั้งแต่สองคนขึ้นไปอันมิใช่นิติบุคคล                 -     องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นนิติบุคคล   ในกรณีผู้ประกอบกิจการอยู่นอกราชอาณาจักร ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบกิจการรวมตลอดถึง ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้ทำการแทนซึ่งมีอำนาจในการจัดการแทนโดยตรง หรือโดยปริยายที่อยู่ในราชอาณาจักร เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีร่วมกับผู้ประกอบกิจการดังกล่าวข้างต้น   การประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ   กิจการที่จะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะได้แก่ การประกอบกิจการดังต่อไปนี้ในราชอาณาจักร โดยกิจการนั้น ไม่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ                 1     การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ                 2     การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์                 3     การรับประกันชีวิต ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต                 4     การรับจำนำ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจำนำ                 5     การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ                             ในกรณีที่มีปัญหาว่า กิจการใดเป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์หรือไม อธิบดีกรมสรรพากรจะเสนอให้คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรพิจารณากำหนดขอบเขตและเงื่อนไขของการประกอบกิจการดังกล่าวนั้นก็ได้และเมื่อคณะกรรมการวินิจฉัย ภาษีอากรได้วินิจฉัยแล้ว ให้ประกาศคำวินิจฉัยนั้นในราชกิจจานุเบกษา                 6     การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 342 พ ศ 2541 ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป ดังต่อไปนี้                             การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่การขายอสังหาริม ทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ดังต่อไปนี้                         1     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมดังต่อไปนี้                         2     การขายห้องชุดของผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ขอจดทะเบียนอาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วย อาคารชุด                         3     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย รวมถึงการขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งของ อาคารดังกล่าว                         4     การขายอสังหริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม 1 2 หรือ 3 เฉพาะกรณีที่มีการแบ่งขาย หรือแบ่งแยกไว้เพื่อขาย โดยได้จัดทำถนนหรือสิ่งสาธารณูปโภคอื่น หรือให้คำสั่นว่าจะจัดให้มีสิ่งดังกล่าว                         5     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการเฉพาะของบริษัทหรื ห้างหุ้นส่วน ที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นนิติบุคคล                         6     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม 1 2 3 4 5 ที่ได้กระทำภายในห้าปี นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น เว้นแต่                                         ก     การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมาย ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์                                         ข     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก                                         ค     การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่งสำคัญที่ผู้ขายมีชื่อ อยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปีที่นับแต่วันที่ได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์นั้นในกรณีที่ที่ดินและอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตาม ค ได้มาไม่พร้อมกันกำหนดเวลาห้า ปีตามความใน 16 ให้ถือตามระยะเวลาการได้มาซึ่งที่ดินหรืออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มาภายหลัง                                         ง     การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ โดยไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายของตน แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม                                         จ     การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ทางมรดกให้แก่ทายาท โดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม                                         ฉ     การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ส่วนราชการหรือ องค์การของรัฐบาลโดยไม่มีค่าตอบแทน                                         ช     การแลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์กับส่วนราชการ หรือองค์การของรัฐบาลเฉพาะในกรณีที่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลนั้นมิได้มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นอย่าง อื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่แลกเปลี่ยนนั้น   หมายเหตุ ผู้มีเงินได้ที่ได้รับเงินได้พึงประเมินจากการขายอสังหาริมทรัพย์ตาม 6 ซึ่งได้ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และได้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะไว้แล้วเมื่อถึงกำหนดยื่นรายการเสียภาษีเงินได้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำเงินได้ดังกล่าว มาคำนวณเป็นเงินได้พึงประเมิน ทั้งนี้เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 376 พ ศ 2544                         7     การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์                         8     การประกอบกิจการอื่น ตามกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา                         กำหนดให้กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์เป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้อง เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจากการประกอบกิจการซื้อหรือขายคืนหลักทรัพย์โดยมีสัญญาหรือซื้อคืนดังกล่าวมี ลักษณะอื่นที่อยู่ในบัง คับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 350 พ ศ 2524                         กำหนดให้การประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงเป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะ เนื่องจากการประกอบธุรกิจดังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับการให้กู้ยืมเงินที่เป็นการประกอบกิจการโดยปกติ เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 358 พ ศ 2542                         คำว่า quot ธุรกิจแฟ็กเตอริง quot หมายความว่า ธุรกิจที่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการตกลงจะ โอนทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้เนื่องจากการขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างตนกับลูกหนี้ของตน ให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริง โดยผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงตกลงจะให้สินเชื่อซึ่งรวมถึงการให้กู้ยืมและการ ทดรองจ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการและรับที่จะดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้                                         ก     จัดให้มีบัญชีทรัพย์สินที่จะได้รับการชำระหนี้                                         ข     เรียกเก็บทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้                                         ค     รับผิดชอบในหนี้ที่ลูกหนี้ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการผิดนัด

มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ หมายถึง, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ คือ, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ ความหมาย, มาตราฐานการบัญชี กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วรายได้อื่นเช่นรายได้ค่าเช่า,ค่าไฟฟ้า,ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

คำถามแนะนำ

คำถามในหมวดอื่นๆ

คำยอดฮิต

Sanook.commenu